1. Photoshop 3. Ulead Cool 3D
2. ImageReady 4. PowerPoint

   โปรแกรมที่นำเสนอต่อไปนี้เป็นแนวทางการใช้โปรแกรมกราฟิกทางคอมพิวเตอร์เบื้องต้น ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบวัสดุกราฟิกในรูปแบบต่าง ๆ ได้
โปรแกรม PowerPoint จะแบ่งวิธีการนำเสนอดังนี้ :
     5.1. เข้าสู่โปรแกรม  :   5.2. ส่วนประกอบต่าง ๆ  :   5.3. การบันทึกข้อมูล
5.2. ส่วนประกอบของโปรแกรม Dreamweaver 4


ภาพแสดงส่วนประกอบต่าง ๆ ในการทำงานในโปรแกรม Dreamweaver

พื้นที่ทำงาน (Document Window) ใช้ในการสร้างงาน วางตำแหน่งอ็อพเจ็ค และเป็นหน้าๆหนึ่งของเว็บไซท์ จะมีลักษณะการใช้งานเหมือน MS word พิมพ์ตัวอักษร แทรกรูปภาพ ตารางเส้น Layer หรือ แทรกฟอร์มต่างๆลงใน Document Window ได้

Launcher และ Minilauncher เป็นส่วนที่เก็บคำสั่งต่างๆที่เรียกจากเมนู window ทำให้สะดวกขึ้น โดยสามารถคลิ้กปุ่มนั้นที่ Launcher ได้เลย หรือจะเรียกคำสั่งนั้นๆจากเมนู Window > คำสั่งที่ต้องการ เช่น Site Map, Site Files, Code Inspector เป็นต้น ส่วน Minilauncher เป็นปุ่มคำสั่งขนาดเล็กมีคำสั่งเหมือนกับ Launcher

Object Palette บรรจุปุ่มคำสั่งต่างๆที่ใช้ในการสร้าง และแต่ง Homepage ซึ่งเป็นคำสั่งที่ใช้บ่อย แยกออกมาจากเมนู Insert เช่น แทรกรูปภาพ การแทรก From และอื่นๆ เมื่อนำเมาส์ไปชี้ที่ปุ่มคำสั่งใดก็ตามจะปรากฏข้อความสั้นๆขึ้นมาเพื่อบอกว่าปุ่มนั้นๆใช้ทำอะไร และเมื่อนำเมาส์ไปคลิ้กที่ปุ่มลูกศรชี้ลง จะปรากฏกลุ่มคำสั่ง 7 กลุ่ม ซึ่งมีหน้าตาต่างๆกันดังนี้
ภาพแสดงหน้าตาอ็อพเจ็คพาเลททั้ง 7 แบบ
     1. Characters บรรจุปุ่มที่เกี่ยวกับสัญลักษณ์พิเศษต่าง ๆ
     2. Forms บรรจุคำสั่งที่ใช้ในการสร้างฟอร์ม
     3. Frames บรรจุคำสั่งเกี่ยวกับหน้าเว็บเพจ
     4. Head บรรจุคำสั่งที่ใช้ในการกำหนด Head ของเว็บเพจ
     5. Invisibles บรรจุคำสั่งที่ใช้ในการกำหนดของการแทรก comment, การเขียน Script และการกำหนดจุด Anchor Link
     6. Common บรรจุคำสั่งที่ใช้งานบ่อย
     7. Special บรรจุคำสั่งเกี่ยวกับการแทรก Applet, การแทรก Plugin และการแทรก ActiveX
 
เข้าสู่โปรแกรม  :   ส่วนประกอบต่าง ๆ  :   การบันทึกข้อมูล   |   แบบฝึกหัด
 
1. Photoshop 2. ImageReady 3. Ulead Cool 3D 4. PowerPoint